สำหรับคนทั่วไป
ทำให้เข้าใจปัญหาและความรุนแรงของโรคที่ทำให้เจ็บป่วยและตาย
ช่วยให้ใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองและคนรอบข้างมากขึ้น
สำหรับผู้กำหนดนโยบาย
ช่วยประเมินความรุนแรงของปัญหาสุขภาพของประชากรไทย
ใช้ในการวางแผนด้านสุขภาพ จัดสรรทรัพยากรด้านสาธารณสุข
เป็นคำอวยพรยอดนิยมที่ไม่มีวันตกเทรนด์ เพราะการมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บนั้น คงเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา
ก่อนไปสำรวจปีสุขภาพดีที่หายไป
ลองเดากันสักนิด
เพศของคุณ
อายุที่คาดไว้
จากข้อมูลจะพบว่า ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา
อายุคาดเฉลี่ย (Life Exectancy : LE) และ
อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expextancy :
HALE)
ของคนไทยทั้งชายและหญิงล้วนเพิ่มขึ้น
โดยเพศหญิงจะมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิดที่สูงกว่าเพศชายเล็กน้อย
แต่มีความเป็นไปได้ว่าอาจต้องใช้ชีวิตกับการเจ็บป่วยยาวนานกว่าเพศชายเช่นกัน
ตัวชี้วัดความยืนยาวของชีวิต
คงไม่ใช่เรื่องแปลกที่ใครหลายคนอยากจะมีชีวิตที่ยืนยาวเพื่อให้ได้ใช้เวลาในชีวิตได้มากที่สุด
โดยมีตัวชี้วัดความยืนยาวของชีวิตที่เรียกว่า
อายุคาดเฉลี่ย (LE)
จากการคาดการณ์โดยสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
(International Health Policy Program : IHPP)
ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า
ชายไทยจะมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดอยู่ที่ 71 ปี ในขณะที่
หญิงไทย มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดอยู่ที่ 79 ปี
อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดี (HALE)
อย่างไรก็ตาม
การมีเวลาในชีวิตที่ยืนยาวอาจจะไม่ตอบโจทย์หากชีวิตนั้นเต็มไปด้วยการเจ็บป่วย
โดยมีอีกหนึ่งตัวชี้วัด อย่าง
อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดี (HALE)
ซึ่งหมายถึงอายุที่คาดว่าเราจะมีชีวิต
อยู่ได้โดยปราศจากโรคและการเจ็บป่วย
โดย IHPP คาดการณ์ไว้ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า
ชายไทยมีอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิดอยู่ที่ 66 ปี
ในขณะที่หญิงไทยอยู่ที่ 71 ปี
แนวโน้มของอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE)
และอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิด (HALE)
ของคนไทยระหว่างปี พ.ศ. 2552 - 2562
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE)
อายุคาดเฉลี่ยปีที่มีสุขภาพดีเมื่อแรกเกิด (HALE)
จากข้อมูลการตายของคนไทยพบอัตราตายในกลุ่มอายุ 80 ปี ขึ้นไปมากที่สุด คิดเป็นจำนวน 10,066 คน ต่อประชากรหนึ่งแสนคน
อัตราการตายตามช่วงอายุของคนไทย ปี พ.ศ. 2562
(คลิกดูข้อมูลที่ชาร์ตได้)
อัตราการตายตามช่วงอายุ
(ต่อประชากร 100,000 คน)
มุมมอง:
10,000
9,000
8,000
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000
1,000
0
0-4
5-14
15-29
30-44
45-59
60-69
70-79
80+
กดเพื่อขยายดูข้อมูล
การเจ็บป่วยและตายก่อนวัยอันควร นำไปสู่การสูญเสียปีสุขภาพดี หรือที่เรียกว่า Disability-Adjusted Life Year (DALY) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่บ่งบอกอะไรได้หลายอย่าง
สำหรับคนทั่วไป
ทำให้เข้าใจปัญหาและความรุนแรงของโรคที่ทำให้เจ็บป่วยและตาย
ช่วยให้ใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองและคนรอบข้างมากขึ้น
สำหรับผู้กำหนดนโยบาย
ช่วยประเมินความรุนแรงของปัญหาสุขภาพของประชากรไทย
ใช้ในการวางแผนด้านสุขภาพ จัดสรรทรัพยากรด้านสาธารณสุข
การสูญเสียปีสุขภาพดี หรือ DALY เป็นดัชนีชี้วัดสถานะสุขภาพของประชากรแบบองค์รวมที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ใช้ในการประเมินความสูญเสียทางด้านสุขภาพจากความเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
การสูญเสียปีสุขภาพดี (DALY)
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
ส่วน ได้แก่
1.การสูญเสียจากการเจ็บป่วยและพิการ
(Years Lived with Disability: YLD)
2.การสูญเสียจากการตายก่อนวัยอันควร
(Years of Life Lost due to Premature Death : YLL)
โดยเทียบกับอายุเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE)
ยกตัวอย่างเช่น
หญิงไทยถูกคาดการณ์ว่าจะมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE) อยู่ที่ 79 ปี
เมื่อคำนวณระยะเวลาที่คุณ A สูญเสียไปจาก...
การป่วยด้วยโรคเบาหวาน (YLD)
5 ปี
การตายก่อนวัยอันควร (YLL)
10 ปี
สูญเสียปีสุขภาพดี (DALY)
15 ปี
อย่างไรก็ตาม... ในความจริง
คุณ A อาจไม่ได้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานเพียงโรคเดียว
โดยอาจจะป่วยด้วยโรคอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น บาดเจ็บ ปวดหลัง หกล้ม
โรคเรื้อรังทำให้ปีสุขภาพดีที่คุณ A สูญเสียไปอาจมากกว่า 15 ปี
กลุ่มโรคหลักที่ทำให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาพดี (DALY) ของคนไทยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
กลุ่มโรคติดเชื้อ ความผิดปกติในแม่และทารก โภชนาการบกพร่อง
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
กลุ่มการบาดเจ็บ
จาก 3 ประเภทนี้ สามารถจำแนกเป็นรายโรคหลัก ได้ทั้งหมด 22 รายโรค
สถานการณ์การสูญเสียปีสุขภาพดี (DALY) ของคนไทยจาก 22 กลุ่มโรคหลัก ระหว่างปี พ.ศ. 2562
3 อันดับโรคที่ก่อให้เกิดการ สูญเสียปีสุขภาพดีมากที่สุด ได้แก่
1. โรคหัวใจและหลอดเลือด
สูญเสียทั้งสิ้น 3.3 ล้านปี
17.9%
ของการสูญเสียทั้งหมด
2. โรคมะเร็งและเนื้องอก
สูญเสียทั้งสิ้น 3.1 ล้านปี
16.7%
ของการสูญเสียทั้งหมด
3. โรคเบาหวานและโรคไต
สูญเสียทั้งสิ้น 2.1 ล้านปี
11.3%
ของการสูญเสียทั้งหมด
ข้อสังเกต
จากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่า โรคหลักที่เป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาพดีของคนไทยล้วนแล้วแต่เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
( เลื่อนเพื่อดูข้อมูล)
รายโรคย่อยทั้งหมด 153 โรค
รวมสูญเสียปีสุขภาพดีทั้งหมด 18,548,096 ปี
1,824,669 ปี (9.84%)
1,649,776 ปี (8.89%)
1,491,981 ปี (8.04%)
1,026,107 ปี (5.53%)
624,198 ปี (3.37%)
594,124 ปี (3.20%)
525,159 ปี (2.83%)
451,456 ปี (2.43%)
449,815 ปี (2.43%)
442,490 ปี (2.39%)
เรียงตาม :
( เลื่อนเพื่อดูข้อมูล)
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคมะเร็งและเนื้องอก
โรคเบาหวานและโรคไต
การบาดเจ็บทางถนน
ความผิดปกติทางระบบย่อยอาหาร
โรคไม่ติดต่ออื่นๆ
การบาดเจ็บโดยไม่เจตนา
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และวัณโรค
ความผิดปกติทางกระดูกและกล้ามเนื้อ
การทำร้ายตนเองและความรุนแรงระหว่างบุคคล
ความผิดปกติทางระบบประสาท
การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความผิดปกติที่เป็นผลจากการใช้สารเสพติด
ความผิดปกติทางจิต
โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง
โรคผิวหนังและโรคใต้ผิวหนัง
ความผิดปกติของมารดาและทารกแรกเกิด
ความผิดปกติทางการรับรู้
กลุ่มโรคติดเชื้ออื่นๆ
การติดเชื้อในลำไส้
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
โรคเขตร้อนที่ถูกละเลยและมาลาเรีย
0
5 แสน
1 ล้าน
1.5 ล้าน
2 ล้าน
2.5 ล้าน
3 ล้าน
3.5 ล้าน
อย่างไรก็ตาม…หากพิจารณาถึงสถานการณ์การสูญเสียปีสุขภาพดีของคนไทย จะพบว่า แต่ละกลุ่มล้วนมีความแตกต่างกัน
สถานการณ์การตายของคนไทยจาก 22 รายโรคหลัก ในปี พ.ศ. 2562
3 อันดับโรคที่ก่อให้เกิดการตายมากที่สุดโดยจำแนกตามเพศ ได้แก่
เพศชาย
1. โรคหัวใจและหลอดเลือด
มีผู้เสียชีวิต 79,765 คน
25.6%
ของการสูญเสียทั้งหมด
2. โรคมะเร็งและเนื้องอก
มีผู้เสียชีวิต 64,289 คน
20.6%
ของการสูญเสียทั้งหมด
3. โรคเบาหวานและโรคไต
มีผู้เสียชีวิต 37,789 คน
12.1%
ของการสูญเสียทั้งหมด
เพศหญิง
1. โรคหัวใจและหลอดเลือด
มีผู้เสียชีวิต 67,837 คน
28.2%
ของการสูญเสียทั้งหมด
2. โรคมะเร็งและเนื้องอก
มีผู้เสียชีวิต 46,735 คน
19.4%
ของการสูญเสียทั้งหมด
3. โรคเบาหวานและโรคไต
มีผู้เสียชีวิต 43,946 คน
18.3%
ของการสูญเสียทั้งหมด
( เลื่อนเพื่อดูข้อมูล)
รายโรคย่อยทั้งหมด 118 โรค
มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 312,110 คน
37,567 คน (12.04%)
30,134 คน (9.65%)
27,550 คน (8.83%)
24,396 คน (7.82%)
16,429 คน (5.26%)
12,257 คน (3.93%)
11,744 คน (3.76%)
11,547 คน (3.70%)
10,165 คน (3.26%)
9,810 คน (3.14%)
เรียงตาม :
( เลื่อนเพื่อดูข้อมูล)
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคมะเร็งและเนื้องอก
โรคเบาหวานและโรคไต
การบาดเจ็บทางถนน
ความผิดปกติทางระบบย่อยอาหาร
ความผิดปกติทางระบบประสาท
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และวัณโรค
โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง
การบาดเจ็บโดยไม่เจตนา
การทำร้ายตนเองและความรุนแรงระหว่างบุคคล
การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคไม่ติดต่ออื่นๆ
ความผิดปกติที่เป็นผลจากการใช้สารเสพติด
ความผิดปกติทางกระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคผิวหนังและโรคใต้ผิวหนัง
กลุ่มโรคติดเชื้ออื่นๆ
ความผิดปกติของมารดาและทารกแรกเกิด
การติดเชื้อในลำไส้
ความผิดปกติทางจิต
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
โรคเขตร้อนที่ถูกละเลยและมาลาเรีย
ความผิดปกติทางการรับรู้
8 หมื่น
7 หมื่น
6 หมื่น
5 หมื่น
4 หมื่น
3 หมื่น
2 หมื่น
1 หมื่น
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคมะเร็งและเนื้องอก
โรคเบาหวานและโรคไต
ความผิดปกติทางระบบประสาท
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และวัณโรค
ความผิดปกติทางระบบย่อยอาหาร
การบาดเจ็บทางถนน
การบาดเจ็บโดยไม่เจตนา
โรคไม่ติดต่ออื่นๆ
โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง
โรคผิวหนังและโรคใต้ผิวหนัง
การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความผิดปกติทางกระดูกและกล้ามเนื้อ
การทำร้ายตนเองและความรุนแรงระหว่างบุคคล
ความผิดปกติของมารดาและทารกแรกเกิด
กลุ่มโรคติดเชื้ออื่นๆ
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
ความผิดปกติที่เป็นผลจากการใช้สารเสพติด
ความผิดปกติทางจิต
การติดเชื้อในลำไส้
โรคเขตร้อนที่ถูกละเลยและมาลาเรีย
ความผิดปกติทางการรับรู้
0
1 หมื่น
2 หมื่น
3 หมื่น
4 หมื่น
5 หมื่น
6 หมื่น
7 หมื่น
8 หมื่น
จากที่สำรวจไปคงพอเห็นกันแล้วว่าคนไทยแต่ละกลุ่มสูญเสียปีสุขภาพดีไปด้วยโรคที่มีความรุนแรงมากน้อยต่างกัน โดยโรคเหล่านี้ล้วนมีต้นตอมาจากปัจจัยเสี่ยงที่เราต้องพบเจออยู่ในทุก ๆ วัน
ปัจจัยเสี่ยงในชีวิตประจำวัน
ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์
การสูญเสียปีสุขภาพดี
หากสามารถจัดการ หรือหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้
จะช่วยลดการสูญเสียและเพิ่มปีสุขภาพดีให้กับคนไทยได้มากขึ้น
ก่อนจะไปหาคำตอบ…เรามาดูกันก่อนดีกว่าว่าปัจจัยเสี่ยงอันดับต้น ๆ ที่ทำให้เกิดโรคซึ่งนำไปสู่การสูญเสียปีสุขภาพดี มีอะไรบ้าง
สุดท้าย ถ้าเราโฟกัสไปที่ปัจจัยเสี่ยงอันดับต้น ๆ ที่นำไปสู่การตาย จะเห็นว่าหลายปัจจัยไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลย
น้ำตาลกลูโคสในพลาสมาสูง
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดการตายมากที่สุด
โดยมีผู้เสียชีวิตมากถึง
1.1 แสนคน
จำนวนคน
โรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยง ( กดเพื่อเลือกดูการตายที่เกิดจากแต่ละรายโรค )
ปัจจัยเสี่ยงทั้งหมด
มีผู้เสียชีวิต 550,949 คน
110,612 คน (20.0%)
71,663 คน (13.0%)
62,343 คน (11.3%)
43,677 คน (7.9%)
42,898 คน (7.8%)
30,396 คน (5.5%)
26,915 คน (4.9%)
23,788 คน (4.3%)
20,759 คน (3.8%)
18,319 คน (3.3%)
คงเห็นกันแล้วว่าสำหรับคนไทย มีปัจจัยเสี่ยงเรื่องไหนบ้างที่นำไปสู่การสูญเสียปีสุขภาพดี
งั้นเรามาตั้งคำถามเล่น ๆ กันดีกว่าว่า
ถ้าสามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้
คนไทยทุกคนจะได้ปีที่มีสุขภาพดีกลับมากี่ปี
(กดเลือก...เพื่อเพิ่มปีสุขภาพดีให้คนไทย)
ไม่สูบบุหรี่
ไม่ดื่มแอลกอฮอล์
สวมหมวกกันน็อก
ควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมน้ำหนักและค่า BMI
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
เลี่ยงการรับสัมผัส PM 2.5
ไม่สัมผัสควันบุหรี่มือสอง
มีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
ป้องกันความเสื่อมของไต
ฟอร์มประเมินการใช้งานเว็บไซต์
คลิก
Content by แผนงานพัฒนาดัชนีภาระโรคแห่งประเทศไทย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
Supported by สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
Created and Visualized by Punch Up